วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ประวัติส่วนตัว

ประวัติส่วนตัว



ชื่อ นายกฤติน  โพธิ   ชื่อเล่น ไปร์

เกิดวันที่ 5 กรกฎาคม 2534  อายุ 21 ปี

กำลังศึกษา :  มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร คณะวิทยาลัยการฝึกหัดครู

                   ปีที่ 4 หมู่เรียนที่ 2

เบอร์โทร :  085-0651516

E-mail :  spaizy_0507@hotmail.com

ภูมิลำเนา :  จังหวัดปทุมธานี

งาอดิเรก  :  เล่นไพ่ ดูหนัง ฟังเพลง จอบหลอยผู้ชาย

คติประจำตัว : รากฐานของตึกคืออิฐ รากฐานของชีวิตคือการศึกษา



ข่าวสารน่ารู้

สสร.เอกฉันท์ รธน.ใหม่ฉลุย"บิ๊กบัง"สั่งสื่อทหารตีปี๊บให้ชาวบ้านรับ
เมื่อ เวลา 10.00 น. ที่รัฐสภา มีการประชุมสภาร่างรัฐธรรมนูญ มีนายนรนิติ เศรษฐบุตร ประธานสภาร่างฯ เป็นประธาน วาระพิจารณาลงมติรับหรือไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ 2550 ทั้งฉบับโดยไม่มีการอภิปราย นายนรนิติ แจ้งว่าการลงมติร่างรัฐธรรมนูญ จะใช้การเรียกชื่อรายบุคคลและลงคะแนนโดยเปิดเผยว่าเห็นชอบ หรือไม่เห็นชอบ หรืองดออกเสียง และต้องใช้คะแนนเสียงเกินกึ่งหนึ่ง ร่างฯ ถึงจะผ่านการเห็นชอบจากสภา

จากนั้นเป็นการขานชื่อรายบุคคลเพื่อลง มติโดยเปิดเผยใช้เวลา 30 นาที ผลปรากฏว่าส.ส.ร.เห็นชอบ 98 ต่อ 0 เสียง ผู้ที่ขาดการประชุมคือ นายพิสิฐ ลี้อาธรรม ที่ลาเดินทางไปต่างประเทศ และนายชาติชาย แสงสุข ซึ่งเดินทางมาไม่ทันการประชุม โดยอ้างว่ารถเสีย

ต่อ มา ได้พิจารณาวาระการกำหนดวันเผยแพร่ร่างฯ อย่างเป็นทางการ ตามประกาศส.ส.ร.ว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญและการออก เสียงประชามติ ข้อ 4 ที่ให้สภามีมติประกาศกำหนดวันเผยแพร่ร่างฯ และประกาศในราชกิจจานุเบกษา นายนรนิติหารือว่าได้หารือในคณะกรรมาธิการวิสามัญกิจการส.ส.ร.แล้วจะพิมพ์ ร่างฯ จำนวน 19-20 ล้านฉบับเผยแพร่ประชาชนต้องใช้เวลาพิมพ์ 14 วัน จากนั้นกกต.จะช่วยเผยแพร่ทางไปรษณีย์ไปยังครัวเรือนใช้เวลา 10 วัน รวม 24 วัน จึงขอกำหนดวันที่ 31 ก.ค. เป็นวันเผยแพร่ร่างฯ อย่างเป็นทางการ ส่วนเนื้อหาและสาระสำคัญส.ส.ร.สามารถเผยแพร่รณรงค์ได้เลย ที่ประชุมมีมติเห็นด้วย

จากนั้นเป็นการพิจารณาวาระการกำหนดวันลง ประชามติ นายนรนิติขอหารือให้เป็นวันที่ 19 ส.ค. มีสมาชิกเสนอให้ยืดไปอีก 1 อาทิตย์ แต่นายประพันธ์ นัยโกวิท ส.ส.ร.และกกต. ยืนยันว่าวันดังกล่าวเหมาะสม นายนรนิติ ชี้แจงว่า ถ้าเลื่อนไปเกิดเหตุฉุกเฉินจะเลื่อนอีกไม่ได้ ที่ประชุมจึงมีมติเห็นด้วย

-แนะส.ส.ร.ต้องเร่งชี้แจงประชาชน

จาก นั้นเปิดหารือในเรื่องทั่วไป สมาชิกหลายคนสงสัยเรื่องการรณรงค์เผยแพร่ให้รับร่างฯ โดยห่วงว่าอาจพลาดไปทำผิดกฎหมายประชามติ และเสนอให้มีคู่มือลงพื้นที่ของส.ส.ร. เพื่อไม่ให้พลาดอย่างที่บางคนขู่ว่าระวังติดคุก นายนรนิติชี้แจงว่า ต้องรอกฎหมายประชามติออกก่อน ซึ่งมีส.ส.ร.ที่ร่วมพิจารณาร่างพ.ร.บ.ดังกล่าว จะมาทำความเข้าใจ จากนั้นปิดการประชุมเวลา 11.45 น.

นายนรนิติให้ สัมภาษณ์กรณีส.ส.ร.เป็นห่วงการเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญจะเสี่ยงต่อการกระทำผิด ตามร่างพ.ร.บ.ว่าด้วยการออกเสียงประชามติ พ.ศ. .... ว่า เมื่อพ.ร.บ.ดังกล่าวออกมาแล้วต้องพิจารณาให้รอบคอบ โดยหลักต้องเผยแพร่ความจริงตามเอกสารและโดยสุจริตใจ ส.ส.ร.สามารถอธิบายความดีของร่างรัฐธรรมนูญได้ แต่การที่ประชาชนจะเห็นด้วยหรือไม่ถือเป็นสิทธิ ส.ส.ร.และกมธ.ยกร่างฯ ต้องอธิบายให้มากที่สุดตามข้อเท็จจริงแล้วให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสิน

นาย นรนิติกล่าวว่า ขั้นตอนต่อไปร่างรัฐธรรมนูญจะผ่านประชามติหรือไม่ขึ้นอยู่กับปัจจัย หลายอย่าง ซึ่งเห็นว่าเมื่อร่างรัฐธรรมนูญมีความเป็นประชาธิปไตยและดีพอสมควรแล้ว ผลจะออกมาอย่างไรต้องยอมให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสิน และหากประชาชนตัดสินแล้วว่าไม่รับถือเป็นสิทธิ จากนั้นทุกอย่างต้องเป็นไปตามขั้นตอนหรือตามรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวแต่เมื่อ ทำมาถึงวันนี้ก็รู้สึกสบายใจแล้ว ตัวรัฐธรรมนูญเป็นหลักฐานอยู่แล้ว สิ่งที่เราต้องพยายามทำคืออธิบาย และคาดว่าสื่อควรจะช่วยส่งข้อความที่ถูกต้องและเป็นจริงของร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับนี้ไปยังประชาชน อะไรที่ไม่ได้ดีอยู่จริงก็ไม่ต้องไปบอกว่าดีอย่าไปโกหก แต่อะไรที่ดีควรเผยแพร่และถ้าไปบอกว่าดีคงไม่เป็นไร

-รับมีเวลาชี้แจงน้อย-เสียเวลาพิมพ์

นาย นรนิติกล่าวว่า ตอนที่รับทั้งหมด 98 คนเห็นพ้องหมดว่าดีถึงได้รับและต้องกล้าอธิบาย อย่างรัฐธรรมนูญฉบับปี"40 ตอนประกาศใช้บอกว่าดีที่สุดแต่เมื่อใช้มาแล้วต้องมีข้อแก้ไข ดังนั้นไม่จำเป็นต้องบอกว่ารัฐธรรมนูญฉบับที่เราร่างดีกว่าฉบับอื่นแต่อยาก ให้ประชาชนดู ปัญหามันเกิดขึ้นจากการใช้รัฐธรรมนูญปี"40 ก่อน 19 ก.ย. และไม่ว่าจะมีเหตุอะไรคนก็พูดว่าจะแก้ไขรัฐธรรมนูญปี"40 อย่างไร ถ้าย้อนไปดูตามเอกสารตามหลักฐานจะเห็นว่ามีปัญหาต้องแก้ไข ถามว่ารัฐธรรมนูญปี"50 เมื่อแก้ไขแล้วก็เก็บของรัฐธรรมนูญปี"40 เอาไว้ และแก้เท่าที่จำเป็นมากๆ เพื่อให้เป็นที่รับได้ เมื่อแก้แล้วจะมีปัญหาอย่างไรผู้ยกร่างพยายามคิดแล้วก็ต้องใช้ไปอีกระยะ หนึ่ง แต่รัฐธรรมนูญแก้ไขได้ต้องถือหลักนี้

ผู้สื่อข่าวถามส.ส.ร. เป็นห่วงเวลาในการเผยแพร่น้อยมาก นายนรนิติกล่าวว่า เวลามีน้อยจริง แต่ที่กำหนดให้วันที่ 31 ก.ค. เป็นวันเริ่มต้นของการเผยแพร่เพราะไม่สามารถทำได้เร็วกว่านั้น เนื่องจากการพิมพ์ 19-20 ล้านฉบับนั้นต้องใช้เวลา และการเผยแพร่ต้องให้ทั่วถึงทั้งประเทศ เพื่อให้ประชาชนได้รับร่างรัฐธรรมนูญและเข้าใจเนื้อหาร่างรัฐธรรมนูญให้ได้ มากที่สุด ซึ่งก่อนหน้านี้รัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราวกำหนดให้ส.ส.ร.พิจารณาร่างรัฐธรรมนูญ ให้เสร็จภายใน 180 วัน ก็เสร็จตามนั้น ในขั้นตอนที่ส.ส.ร.ลงไปอธิบายร่างรัฐธรรมนูญให้ประชาชนฟังในแต่ละพื้นที่ ตนจะหาโอกาสลงไปให้กำลังใจกับส.ส.ร.และหน่วยงานในพื้นที่ต่างๆ

-ยังกังวลว่าจะเกิดเหตุการณ์วุ่นวาย

ประธาน สภาร่างรัฐธรรมนูญ กล่าวว่า หากการลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญในวันที่ 19 ส.ค. เรียบร้อย น่าจะเลือกตั้งได้ในปีนี้ แต่การกำหนดวันเลือกตั้งเป็นเรื่องของรัฐบาลและกกต. เมื่อถามว่ากังวลว่าจะเกิดเหตุการณ์วุ่นวายก่อนวันลงประชามติหรือไม่ นายนรนิติ กล่าวว่า กังวลมาก่อนหน้านี้หลายเดือนแล้วและขณะนี้ความกังวลก็ยังมีอยู่ และคิดว่าเมื่อไหร่ที่รัฐธรรมนูญฉบับปี 2550 ประกาศใช้พวกตนก็คงหมดกังวล

ผู้ สื่อข่าวถามว่าตลอดระยะเวลา 180 วันในการทำหน้าที่ประธานส.ส.ร. รู้สึกท้อแท้หรือน้อยใจบ้างหรือไม่ นายนรนิติกล่าวว่า เมื่อรับมาทำงานจะรู้สึกอย่างไรต้องห้ามบ่นเพราะไม่ได้ถูกบังคับให้มาทำ เมื่อไปรับมาแล้วต้องคิดว่าทำให้ดีกับสังคมที่อยู่ เมื่อเรามีกรอบเวลา 180 วันและสามารถทำเสร็จตามกรอบ ในฐานะประธานตนก็รู้สึกโล่งใจแม้จะมีความกังวลอยู่บ้างในขั้นตอนการอธิบาย กับประชาชนแต่จะพยายามทำให้ดีที่สุด ซึ่งส.ส.ร.ทุกคนต้องร่วมมือกันทำให้สำเร็จ

-"บุญรอด"รับกล่อมให้รับรธน.ใหม่

ที่ กระทรวงยุติธรรม นายชาญชัย ลิขิตจิตถะ รมว.ยุติธรรม กล่าวว่า ภายหลังส.ส.ร.ลงมติรับร่างรัฐธรรมนูญฉบับปี 2550 ตนจะสั่งการให้ทุกหน่วยงานในกระทรวงเร่งประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนออกไปใช้ สิทธิลงประชามติ แต่จะไม่ชี้นำว่าควรรับหรือไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนได้ศึกษาเนื้อหาในร่างรัฐธรรมนูญและตัดสินใจด้วยตน เองว่าจะรับร่างรัฐธรรมนูญหรือไม่

ที่ขส.ทบ.พล.อ.บุญรอด สมทัศน์ รมว.กลาโหม ให้สัมภาษณ์ถึงนายมีชัย ฤชุพันธุ์ ประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ(สนช.) ระบุการรณรงค์รับหรือไม่รับร่างรัฐธรรมนูญสามารถทำได้ว่า เรื่องนี้ตนจะลงไปพบปะกับประชาชนในพื้นที่ จ.อุบลราชธานี และจ.อำนาจเจริญ ให้เขาใช้วิจารณญาณและดุลยพินิจว่าจะรับหรือไม่รับร่างรัฐธรรมนูญ ซึ่งการเลือกตั้งจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อร่างรธน.ได้รับประชามติมันถึงจะ เรียบร้อย ถ้าหากว่าไม่รับประชามติแล้วก็จะเป็นปัญหาที่วุ่นวายต่อเนื่องไม่จบง่ายๆ คิดว่าประชาชนส่วนใหญ่หวังจะให้มีการเลือกตั้งเพื่อให้มีรัฐบาลที่มาจากการ เลือกตั้งและเป็นประชาธิปไตย และทุกสิ่งทุกอย่างจะกลับคืนสู่สภาพปกติ

พล.อ.อ.ชลิต พุกผาสุข ผบ.ทอ. รองประธานคมช.กล่าวว่า หากเราต้องการให้ระบอบประชาธิปไตยกลับสู่ประเทศไทย เราต้องมีการเลือกตั้ง และถ้ามีการเลือกต้องมีรัฐธรรมนูญนี้ออกมาใช้งาน เพระรัฐธรรมนูญเดิมถูกยกเลิกไป แต่มีบางคนต่อต้านทั้งที่ยังไม่ได้ศึกษา ประชาชนควรเปิดใจและพร้อมรับร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ รวมทั้งเข้าใจเจตนารมณ์ของการร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้ ถ้าเพียงแต่ผู้ที่เกี่ยวข้องและทุกๆคนเปิดใจให้กว้าง ศึกษาอย่างถ่องแท้ซึ่งจะเข้าใจ ช่วยกันสนับสนุนการลงประชามติเรียบร้อย

                                                                                       

วันเสาร์ที่ 10 กันยายน พ.ศ. 2554

8. แนวคิดในการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนรู้

       8. แนวคิดในการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนรู้
            ปัจจุบันได้มีการนำเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในหลายสาขาวิชาชีพ ทั้งในด้านการศึกษา ด้านธุรกิจอุตสาหกรรม ด้านการแพทย์ ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่ออำนวยความสะดวกในการดำเนินงาน การศึกษาหาความรู้  ฯลฯ สำหรับการนำเทคโนโลยีมาใช้ในการศึกษานั้นจะทำให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพมากขึ้น และในสภาพปัจจุบันการเรียนการสอนก็ไม่อาจหลีกเลี่ยงสิ่งนี้ได้ การนำเทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการเรียนการสอนก็ควรวิเคราะห์ความเป็นไปได้และความเหมาะสม เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการเรียนรู้

วันอาทิตย์ที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

7.รูปแบบของสื่อหลายมิติในการเรียนการสอน

                7.รูปแบบของสื่อหลายมิติในการเรียนการสอน
         http://sirinapa005.blogspot.com/2010/08/blog-post.html กล่าวว่า สื่อหมายมิติเป็นเทคโนโลยีที่ทันสมัยในการนำเสนอข้อมูลเพื่อให้ผู้รับสามารถรับข้อมูลสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ที่มีความสามารถเชื่อมโยงข้อมูลจากรูปแบบหนึ่งไปยังอีกรูปแบบหนึ่งได้ในทันทีด้วยความรวดเร็วและเพิ่มความสามารในการบรรจุข้อมูลในลักษณะของภาพเคลื่อนไหว วีดิทัศน์ ภาพกราฟฟิก ภาพนิ่ง ภาพสามมิติ ภาพถ่าย เสียงพูด เสียงดนตรี เข้าไว้ในเนื้อหาด้วย เพื่อให้ผู้ใช้หรือผู้เรียนสามารถสืบค้นข้อมูลที่เชื่อมโยงถึงกันได้หลากหลายรูปแบบมากขึ้นกว่าเดิมจากความสามารถของสื่อหลายมิติที่ช่วยให้ผู้ใช้สามารถสืบค้นข้อมูลที่เชื่อมโยงถึงกันได้หลากหลายรูปแบบได้อย่างรวดเร็วนี้เอง ปัจจุบันสื่อหลายมิติได้มีการพัฒนาโดยผสมผสานเทคนิคและเทคโนโลยีที่ทันสมัยไปอย่างรวดเร็วโดยทั่วไปนั้นส่วนใหญ่เป็นการผสมผสานสื่อหลากหลายชนิดและเชื่อมโยงไปสู่แหล่งข้อมูลอื่นที่น่าสนใจ จนกระทั่งเกิดการค้นหาวิธีและพัฒนาไปสู่แนวทางใหม่ของสื่อหลายมิติ ที่เรียกว่า สื่อหลายมิติแบบปรับตัว หมายถึง ความสัมพันธ์กันระหว่างสื่อหลายมิติกับรูปแบบการเรียนของผู้เรียน ทั้งนี้สื่อหลายมิติที่ได้รับการออกแบบอย่างถูกต้องและเป็นระบบจะช่วยตอบสนองให้เกิดการเรียนรู้ได้ตามความสามารถและความต้องการของผู้เรียน เป็นการดึงดูดความสนใจของผู้เรียนและสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนแบบรายบุคคลและส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามศักยภาพได้โดยแบ่งออกเป็น 3 องค์ประกอบหลัก คือ
    
 1.รูปแบบหลัก
    
 2. รูปแบบผู้เรียน
    
 3. รูปแบบการปรับตัว
                http://www.images.minint.multiply.multiplycontent.com  กล่าวว่า สื่อหลายมิติกับการเรียนการสอนจากความสามารถของสื่อหลายมิติที่ช่วยให้ผู้สืบค้นข้อมูลที่เชื่อมโยงถึงกันได้หลากหลายรูปแบบได้อย่างรวดเร็วนี้เอง ทำให้สถาบันการศึกษาหลายแห่งมีการใช้สื่อหลายมิติในการเรียนการสอนในระดับชั้นและวิชาเรียนต่างๆ แล้วในปัจจุบัน
                http://sirinapa005.blogspot.com/2010/08/blog-post.html กล่าวไว้ว่า สื่อหลายมิติ เป็นการขยายแนวความคิดของข้อความหลายมิติในเรื่องของการเสนอข้อมูลในลักษณะไม่เป็นเส้นตรง และเพิ่มความสามารถในการบรรจุข้อมูลในลักษณะของภาพเคลื่อนไหวแบบวีดิทัศน์ ภาพกราฟิคในลักษณะภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว ภาพถ่าย เสียงพูด เสียงดนตรี เข้าไว้ในเนื้อหาด้วย เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเข้าถึงเนื้อหาเรื่องราวได้หลายรูปแบบมากกว่าเดิม
                สรุป รูปแบบของสื่อหลายมิติในการเรียนการสอน คือ สื่อหลายมิติที่ได้มีการพัฒนามาจากเครื่องคอมพิวเตอร์โดยนำมาประยุกต์ให้เข้ากับการเรียนการสอน   เช่น บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นบทเรียนที่ประกอบด้วยเนื้อหา มีการใช้คุณลักษณะของสื่อหลายมิติในการเชื่อมโยงหัวข้อต่าง   โดยมีองค์ประกอบหลัก คือ 
    
 1.รูปแบบหลัก
    
 2. รูปแบบผู้เรียน
    
 3. รูปแบบการปรับตัว
อ้างอิง
URL:  http://sirinapa005.blogspot.com/2010/08/blog-post.htmlวันที่ 30/07/2011
URL:http://www.images.minint.multiply.multiplycontent.com  วันที่30/07/2011
URL:  http://sirinapa005.blogspot.com/2010/08/blog-post.html วันที่ 30/07/2011

6.สื่อการสอน


                6.สื่อการสอน

http://kichu1987-11.blogspot.com/  กล่าวถึงสื่อการสอน และประเภทของสื่อการสอนว่า สื่อการเรียนการสอน คือ ตัวกลางหรือช่องทางในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ จากแหล่งความรู้ไปสู่ผู้เรียน และทำให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพประเภทของสื่อการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอนแบ่งตามคุณลักษณะได้ 4 ประเภทคือ
     1. สื่อประเภทวัสดุ ได้แก่สไลด์ แผ่นใส เอกสาร ตำรา สารเคมี สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ และคู่มือการฝึกปฏิบัติ
    
 2. สื่อประเภทอุปกรณ์ ได้แก่ของจริง หุ่นจำลอง เครื่องเล่นเทปเสียง เครื่องเล่นวีดิทัศน์ เครื่องฉายแผ่นใส อุปกรณ์และเครื่องมือในห้องปฏิบัติการ
    
 3. สื่อประเภทเทคนิคหรือวิธีการ ได้แก่การสาธิต การอภิปรายกลุ่ม การฝึกปฏิบัติ การฝึกงาน การจัดนิทรรศการ และสถานการณ์จำลอง
    
 4. สื่อประเภทคอมพิวเตอร์ ได้แก่คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) การนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer presentation) การใช้ Intranet และ Internet เพื่อการสื่อสาร (Electronic mail: E-mail)และการใช้ WWW (World Wide Web)

http://oohlively1.blogspot.com / กล่าวถึงสื่อการสอน และประเภทของสื่อการสอนว่า สื่อการเรียนการสอน คือ ตัวกลางหรือช่องทางในการถ่ายทอดองค์ความรู้ ทักษะ ประสบการณ์ จากแหล่งความรู้ไปสู่ผู้เรียน และทำให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพประเภทของสื่อการเรียนการสอน สื่อการเรียนการสอนแบ่งตามคุณลักษณะได้ 4 ประเภทคือ    
     1. สื่อประเภทวัสดุ ได้แก่สไลด์ แผ่นใส เอกสาร ตำรา สารเคมี สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ และคู่มือการฝึกปฏิบัติ
    
 2. สื่อประเภทอุปกรณ์ ได้แก่ของจริง หุ่นจำลอง เครื่องเล่นเทปเสียง เครื่องเล่นวีดิทัศน์ เครื่องฉายแผ่นใส อุปกรณ์และเครื่องมือในห้องปฏิบัติการ
    
 3. สื่อประเภทเทคนิคหรือวิธีการ ได้แก่การสาธิต การอภิปรายกลุ่ม การฝึกปฏิบัติ การฝึกงาน การจัดนิทรรศการ และสถานการณ์จำลอง
    
 4. สื่อประเภทคอมพิวเตอร์ ได้แก่คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) การนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer presentation) การใช้ Intranet และ Internet เพื่อการสื่อสาร (Electronic mail: E-mail)และการใช้ WWW (World Wide Web)
               
http://narissaraenglish.blogspot.com/2007/08/1.html กล่าวถึงสื่อการสอน และประเภทของสื่อการสอนว่า สื่อการสอนสื่อการสอนสื่อการสอน คือ วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ ซึ่งถูกนำมาใช้ในการการเรียนการสอน เพื่อเป็นตัวกลางในการนำส่งหรือถ่ายทอดความรู้ ทักษะ และเจตคติ จากผู้สอนหรือแหล่งความรู้ไปยังผู้เรียน ช่วยให้การเรียนการสอนดำเนินไปอย่างสะดวกและมีประสิทธิภาพ และทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนที่ตั้งไว้

ประเภทของสื่อการสอน
โรเบิร์ต อี. ดี. ดีฟเฟอร์ แบ่งประเภทการสอน ดังนี้
  
 1. วัสดุที่ไม่ต้องฉาย ได้แก่ รูปภาพ แผนภูมิ กราฟ ของจริง ของตัวอย่าง หุ่นจำลอง แผนที่ กระดาษสาธิต ลูกโลก กระดานชอล์ค กระดานนิเทศ กระดานแม่เหล็ก การแสดงบทบาท นิทรรศการ การสาธิต และการทดลองเป็นต้น
   2. วัสดุฉายและเครื่องฉาย ได้แก่ สไลด์ ฟิล์มสตริป ภาพโปร่งใส ภาพทึบ ภาพยนตร์ และเครื่องฉายต่าง ๆ เช่น เครื่องฉายภาพยนตร์ เครื่องฉายสไลด์ และฟิล์มสตริป เครื่องฉายกระจกภาพ เครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ เครื่องฉายภาพทึบแสง เครื่องฉายภาพจุลทัศน์ เป็นต้น
   3. โสตวัสดุและเครื่องมือ ได้แก่ แผ่นเสียง เครื่องเล่นจานเสียง เทป เครื่องบันทึกเสียง เครื่องขยายเสียง และวิทยุ เป็นต้น

สรุป สื่อการสอน และประเภทของสื่อการสอน สื่อการสอน คือ วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ ซึ่งถูกนำมาใช้ในการการเรียนการสอน เพื่อเป็นตัวกลางในถ่ายทอดความรู้ ทักษะ และเจตคติ ของผู้สอน และยังเป็นตัวดึงดูด กระตุ้นหรือสร้างความประทับใจ ให้ผู้เรียนเกิดความสนใจในชั่วโมงเรียนมากยิ่งขึ้น สื่อการเรียนการสอนแบ่งตามคุณลักษณะได้ 4 ประเภทคือ
     1. สื่อประเภทวัสดุ ได้แก่สไลด์ แผ่นใส เอกสาร ตำรา สารเคมี สิ่งพิมพ์ต่าง ๆ และคู่มือการฝึกปฏิบัติ
    
 2. สื่อประเภทอุปกรณ์ ได้แก่ของจริง หุ่นจำลอง เครื่องเล่นเทปเสียง เครื่องเล่นวีดิทัศน์ เครื่องฉายแผ่นใส    อุปกรณ์และเครื่องมือในห้องปฏิบัติการ
    
 3. สื่อประเภทเทคนิคหรือวิธีการ ได้แก่การสาธิต การอภิปรายกลุ่ม การฝึกปฏิบัติ การฝึกงาน การจัดนิทรรศการ และสถานการณ์จำลอง
    
 4. สื่อประเภทคอมพิวเตอร์ ได้แก่คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI) การนำเสนอด้วยคอมพิวเตอร์ (Computer presentation) การใช้ Intranet และ Internet เพื่อการสื่อสาร (Electronic mail: E-mail)และการใช้ WWW (World Wide Web)

อ้างอิง
URL:http://kichu1987-11.blogspot.com/     วันที่ 29/07/2011
URL:  http://oohlively1.blogspot.com /    วันที่ 29/07/2011
URL:  http://narissaraenglish.blogspot.com/2007/08/1.html    วันที่ 29/07/2011

5.เทคโนโลยีสารสนเทศ

               5.เทคโนโลยีสารสนเทศ


               http://www.kmitl.ac.th/agritech/nutthakorn/04093009_2204/isweb/Lesson%2022.htm กล่าวถึง ความหมาย ลักษณะความสำคัญ และบทบาทในการศึกษาว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ  Information Technology หรือ IT คือ การประยุกต์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในระบบสารสนเทศ ตั้งแต่กระบวนการจัดเก็บ ประมวลผล และการเผยแพร่สารสนเทศ เพื่อช่วยให้ได้สารสนเทศที่มีประสิทธิภาพและรวดเร็วทันต่อเหตุการณ์ โดยเทคโนโลยีสารสนเทศ อาจประกอบด้วย            1.เครื่องมือและอุปกรณ์ต่างๆ เช่น เครื่องคอมพิวเตอร์ เครื่องใช้สำนักงาน อุปกรณ์สื่อสารโทรคมนาคมต่างๆ รวมทั้งซอฟท์แวร์ทั้งแบบสำเร็จรูปและแบบพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในงานเฉพาะด้าน ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้จัดเป็นเครื่องมือทันสมัย และใช้เทคโนโลยีระดับสูง (High Technology)
            2. กระบวนการในการนำอุปกรณ์เครื่องมือต่างๆ ข้างต้นมาใช้งาน เพื่อรวบรวม จัดเก็บ ประมวลผล และแสดงผลลัพธ์เป็นสารสนเทศในรูปแบบต่างๆ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ต่อไป เช่น การจัดเก็บข้อมูลในลักษณะของฐานข้อมูล เป็นต้น

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
                สามารถอธิบายความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านต่าง ๆ ของผู้คนไว้หลายประการดังต่อไปนี้
ประการที่หนึ่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมสารสนเทศ 
ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแห่งชาติไปเป็นเศรษฐกิจโลก ที่ทำให้ระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกับทุกประเทศ ความเชื่อมโยงของเครือข่ายสารสนเทศทำให้เกิดสังคมโลกาภิวัฒน์ 
ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้องค์กรมีลักษณะผูกพัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากขึ้น หน่วยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอื่นเป็นเครือข่าย การดำเนินธุรกิจมีการแข่งขันกันในด้านความเร็ว โดยอาศัยการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นตัวสนับสนุน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว 
ประการที่สี่ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัส และสามารถตอบสนองตามความต้องการการใช้เทคโนโลยีในรูปแบบใหม่ที่เลือกได้เอง
ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดสภาพทางการทำงานแบบทุกสถานที่และทุกเวลา
ประการที่หก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดำเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทำให้วิถีการตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกได้ละเอียดขึ้น 

            กล่าวโดยสรุปแล้ว เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทที่สำคัญในทุกวงการ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโลกด้านความเป็นอยู่ สังคม เศรษฐกิจ การศึกษา การแพทย์ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง ตลอดจนการวิจัยและการพัฒนาต่าง ๆ
               
  http://www.thaigoodview.com/node/55440  กล่าวถึง ความหมาย ลักษณะความสำคัญ และบทบาทในการศึกษาว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึงการนำเอาเทคโนโลยีมาใช้สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสารสนเทศ ทำให้สารสนเทศมีประโยชน์ และใช้งานได้กว้างขวางมากขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศรวมไปถึงการใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ที่จะรวบรวม จัดเก็บ ใช้งาน ส่งต่อ หรือสื่อสารระหว่างกัน เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวข้องโดยตรงกับเครื่องมือเครื่องใช้ในการจัดการสารสนเทศ ซึ่งได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้าง ขั้นตอน วิธีการดำเนินการ ซึ่งเกี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์ เกี่ยวข้องกับตัวข้อมูล เกี่ยวข้องกับบุคลากร เกี่ยวข้องกับกรรมวิธีการดำเนินงานเพื่อให้ข้อมูลเกิดประโยชน์สูงสุด นอกจากนี้แล้วยังรวมไปถึง โทรทัศน์ วิทยุ โทรศัพท์ โทรสาร หนังสือพิมพ์ นิตยสารต่าง ๆ ฯลฯ

ความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ
สามารถอธิบายความสำคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศในด้านที่มีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมด้านต่าง ๆ ของผู้คนไว้หลายประการดังต่อไปนี้
ประการที่หนึ่ง เทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้สังคมเปลี่ยนจากสังคมอุตสาหกรรมมาเป็นสังคมสารสนเทศ
ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้ระบบเศรษฐกิจเปลี่ยนจากระบบแห่งชาติไปเป็นเศรษฐกิจโลก ที่ทำให้ระบบเศรษฐกิจของโลกผูกพันกับทุกประเทศ ความเชื่อมโยงของเครือข่ายสารสนเทศทำให้เกิดสังคมโลกาภิวัฒน์
ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้องค์กรมีลักษณะผูกพัน มีการบังคับบัญชาแบบแนวราบมากขึ้น หน่วยธุรกิจมีขนาดเล็กลง และเชื่อมโยงกันกับหน่วยธุรกิจอื่นเป็นเครือข่าย การดำเนินธุรกิจมีการแข่งขันกันในด้านความเร็ว โดยอาศัยการใช้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ และการสื่อสารโทรคมนาคมเป็นตัวสนับสนุน เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลได้ง่ายและรวดเร็ว 
ประการที่สี่ เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเทคโนโลยีแบบสุนทรียสัมผัส และสามารถตอบสนองตามความต้องการการใช้เทคโนโลยีในรูปแบบใหม่ที่เลือกได้เอง
ประการที่ห้า เทคโนโลยีสารสนเทศทำให้เกิดสภาพทางการทำงานแบบทุกสถานที่และทุกเวลา
ประการที่หก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให้เกิดการวางแผนการดำเนินการระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทำให้วิถีการตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกได้ละเอียดขึ้น 
          
  กล่าวโดยสรุปแล้ว เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทที่สำคัญในทุกวงการ มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงโลกด้านความเป็นอยู่ สังคม เศรษฐกิจ การศึกษา การแพทย์ เกษตรกรรม อุตสาหกรรม การเมือง ตลอดจนการวิจัยและการพัฒนาต่าง ๆ

                http://www.learners.in.th/blog/pitchaya1/256367 กล่าวถึง ความหมาย ลักษณะความสำคัญ และบทบาทในการศึกษาว่า เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology : IT) หมายถึงการนำเอาเทคโนโลยีมาใช้สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสารสนเทศ ทำให้สารสนเทศมีประโยชน์ และใช้งานได้กว้างขวางมากขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศรวมไปถึงการใช้เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ ที่จะรวบรวม จัดเก็บ ใช้งาน ส่งต่อ หรือสื่อสารระหว่างกัน เทคโนโลยีสารสนเทศเกี่ยวข้องโดยตรงกับเครื่องมือเครื่องใช้ในการจัดการสารสนเทศ ซึ่งได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์รอบข้าง ขั้นตอน วิธีการดำเนินการ ซึ่งเกี่ยวข้องกับซอฟต์แวร์ เกี่ยวข้องกับตัวข้อมูล เกี่ยวข้องกับบุคลากร เกี่ยวข้องกับกรรมวิธีการดำเนินงานเพื่อให้ข้อมูลเกิดประโยชน์สูงสุด นอกจากนี้แล้วยังรวมไปถึง โทรทัศน์ วิทยุ โทรศัพท์ โทรสาร หนังสือพิมพ์ นิตยสารต่าง ๆ


ลักลัษณะความสำคัญ
ชีวิตความเป็นอยู่ในปัจจุบันเกี่ยวข้องกับสารสนเทศต่างๆ มากมาย การอยู่รวมกันเป็นสังคมของมนุษย์ทำให้ต้องเสียเวลาในการสื่อสารถึงกัน ต้องติดต่อและทำงานหลายสิ่งหลายอย่างร่วมกันสมองของเราต้องจดจำสิ่งต่างๆ ไว้มากมาย ต้องจดจำรายชื่อผู้ที่เราเกี่ยวข้องด้วย จดจำข้อมูลต่างๆ ไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในภายหลัง สังคมจึงต้องการความเป็นระบบที่มีรูปแบบชัดเจน เช่น การกำหนดเลขบ้าน ชื่อถนน อำเภอ จังหวัด ทำให้สามารถติดต่อส่งจดหมายถึงกันได้ เลขบ้านเป็นสารสนเทศอย่างหนึ่งที่ใช้งานกันอยู่เพื่อให้สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับมนุษย์เป็นระบบมากขึ้น จึงมีการจัดการสารสนเทศเหล่านั้นในลักษณะเชิงระบบ เช่น ระบบทะเบียนราษฎร์ มีการใช้เลขประจำตัวประชาชน ซึ่งมีเลขรหัส 13 ตัว แต่ละตัวจะมีความหมายเพื่อใช้ในการตรวจสอบ เช่น แบ่งตามประเภท ตามถิ่นที่อยู่ การเข้ารับการตรวจรักษาในโรงพยาบาลก็ต้องมีการลงทะเบียน การสร้างเวชระเบียน ระบบเสียภาษีก็มีการสร้างรหัสประจำตัวผู้เสียภาษี นอกจากนี้มีการจดทะเบียนรถยนต์ ทะเบียนการค้า ทะเบียนโรงงาน ฯลฯ การใช้สารสนเทศเกี่ยวข้องกับทุกคน การเรียนรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศจึงมีความจำเป็น ปัจจุบันเราใช้จ่ายเงินซื้อสินค้าด้วยบัตรเครดิต เบิกเงินด้วยบัตรเอทีเอ็ม การโอนย้ายช้อมูล ในลักษณะอิเล็กทรอนิกส์เกี่ยวข้องกับเรามากขึ้น
              
  เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเป็นเทคโนโลยีแห่งศตวรรษนี้ ที่ใช้ในการจัดเก็บรวบรวมข้อมูล ข้อมูลจำนวนมากได้รับการบันทึกไว้ในรูปแบบที่ให้เครื่องจักรอ่านได้ เช่นอยู่ในแถบบันทึกไว้ในรูปแบบที่ให้เครื่องจักรอ่านได้ เช่น อยู่ในแถบบันทึก แผ่นบันทึก แผ่นซีดีรอม ดังจะเห็นเอกสารหรือหนังสือ หรือสารานุกรมบรรจุในแผ่นซีดีรอม หนังสือทั้งตู้อาจเก็บในแผ่นซีดีรอมเพียงแผ่นเดียว การสื่อสารข้อมูลที่เห็นเด่นชัดขณะนี้ เช่นกาศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม

                
                 สรุป เทคโนโลยีสารสนเทศหมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับการรวบรวมประมวล เก็บรักษา และเผยแพร่ข้อมูลและสารสนเทศโดยรวมทั้งฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ ฐานข้อมูล และการสื่อสาร โทรคมนาคม
ลักษณะความสำคัญ  ในชีวิตความเป็นอยู่หรือการดำรงชีวิตประจำวันต่าง ข้องเกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศต่างๆ มากมาย เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ทันสมัย ทันเหตุการณ์
ในระบบทางการศึกษา เทคโนโลยีสารสนเทศมีบทบาทที่สำคัญอย่างยิ่ง ทั้งในด้านการเก็บข้อมูลหรือประวัติของนักเรียน/นักศึกษา ทั้งในด้านการเรียนการสอน เช่นกาศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม เป็นต้น
อ้างอิง

URL:  http://www.thaigoodview.com/node/55440   วันที่ 29/07/2011

URL:   http://www.learners.in.th/blog/pitchaya1/256367    วันที่ 29/07/2011